“แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ต้องแก้พื้นที่”
ร่วมบริจาค เกี่ยวกับ เกี่ยวกับเรา เราทำอะไร ทีมงาน ติดต่อเรา ค้นหา โครงการ องค์กรเพื่อสังคม อาสาสมัคร ลีดเดอร์บอร์ด บล็อก เริ่มต้นการใช้งาน ค่าบริการ สร้างโครงการ เงื่อนไขการใช้บริการ ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัย เงื่อนไขและข้อกำหนด นโยบายความเป็นส่วนตัว
ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ส่งผลให้คุณภาพการเรียนการสอนไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่ สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้พัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน จึงทำให้องค์กรหลากหลายแห่งขาดแคลนแรงงานฝีมือคุณภาพ หรือต้องลงทุนไปกับทรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาพนักงานด้วยตนเอง
ศศิวัฒน์ แป้นคุ้มญาติ , ณัฐพล สุกไทย / วิดีโอ
คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ
ถอดรหัสดีเบตแฮร์ริส-ทรัมป์ ผลกระทบตลาดหุ้นสหรัฐ
การขยายขนาดโรงเรียน สามารถช่วยให้เด็กนักเรียนจำนวนมากมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเท่าเทียมกัน ช่วยลดความต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา เนื่องจากเด็กนักเรียนได้รับการเรียนการสอนภายใต้มาตรฐานเดียวกัน และยังช่วยลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากคุณภาพของโรงเรียนได้
iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
“สิ่งที่สำคัญที่สุดคือต้องมีวิธีคิดใหม่ วิธีทำใหม่ และต้องทลายกรอบแนวคิดแบบเดิมๆ ที่เป็นไซโลในส่วนราชการ แล้วยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง อย่าคิดตัวชี้วัดแบบระบบราชการ และต้องคิดว่าจะทำอย่างไรให้เกิดความยั่งยืน เพราะนายกอบจ.
ขอให้ลูกเป็นคนดีก็พอแล้ว…แต่พอจริงหรือ?
คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่เสถียรหรือเข้าไม่ถึงโรงเรียนที่อยู่บนดอยอย่างในจังหวัดเชียงราย น่าน แม่ฮ่องสอน ทำให้ระบบการแจ้งข่าวและส่งข้อมูลเป็นไปอย่างยากลำบาก
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) คือ หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยให้รัฐเป็นผู้จัดสรรงบประมาณ กสศ.
iSEE ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
“รับน้องทำไม”: ความเป็นพี่น้องในระบบโซตัส อัตลักษณ์และการเมืองที่ปลูกฝังในสังคมไทย